1. ข้อใดเป็นการควบคุมพฤติกรรมขึ้งเป็นจุดมุ่งหมายของการดีกใ;ททางจิตวิทย
(1) การใช้แบบทดสอบทางจิตวิทยาเพื่อดูความสนใจในอาซิพของบุคคล
(2) เมื่อเกิดความคับข้องใจบุคคลบางคนระบายอารมณโดยมีพฤติกรรมขว้างปาสิงของ
(3) การให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่บิดามารดาในการอบรมเลี้ยงดูบุตรเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี
(4) เมื่อมีเหตุการณ์รถตายบนถนนบุคคลบริเวณนั้นเพิกเฉยไม่สนใจที่จะช่วยเหลือ
(5) การใช้ข้อสอบเพื่อวัดผลลัมฤทธี้ทางการเรียบของนักเรียน
2. จิตวิทยาเป็นการดีกษาเขิงวิทยาศาสตร์มีความหมายตรงกับข้อใด
(1) ท0าการดีกษาในห้องทดลองเท่านั้น.
(2) เป็นการศึกษากับสิ่งมี'ชีวิต
(3) เป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
(4) เป็นความรู้ที่ได้จากหลักฐานเซิงประจักษ์
(5) เป็นการดีกษาที่ด้องใข้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
3. จิตวิทยาแยกตัวออกเป็นอิ่สระจากวิซาปรัชญาและมีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์โดยใคร
(1) วุ้นท์ (Wundt)
(2) ฟรอยด์ (Freud)
(3) มาสโลว์ (Maslow)
(4) วัตลัน (Watson)
(5) เวอร์ไทเมอร์ (Wertheimer)
4. ผู้ที่อธิบายว่าบุคลิกภาพของบุคคลพัฒนาจากแรงจูงใจไร้สำนึกคือใคร
(1) วุ้นท์ (Wundt)
(2) ฟรอยด์ (Freud)
(3) มาสโลว์ (Maslow)
(4) วัตลัน (Watson)
(5) เวอร์ไทเมอร์ (Wertheimer)
5. ผู้ที่กล่าวว่าจิตวิทยาคือการศึกษาพฤติกรรมไม่ใช่ศึกษาเฉพาะจิตสำนึกคือใคร
(1) วุ้นท์ (Wundt)
(2) ฟรอยด์ (Freud)
(3) มาสโลว์ (Maslow)
(4) วัตลัน (Watson)
(5) เวอร์ไทเมอร์ (Wertheimer)
6. นักจิตวิทยากลุ่มใดที่ให้ความสนใจศึกษาทางการคิด กา'รแก้บญหา และกระบวนการภายในจิต
(1) ปรัชญา
(2) พุทธิปีญญา
(3) โครงสรางชองจิต
(4) ๓สตัลท์
(5) หน้าที่ชองจิต
7.วิธีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์วิธีใดที่ได้ข้อมูลทีเน้นธรรมชาติมวกทีสุด
(1) การสังเกต
(2) การสำรวจ
(3) การทดลอง
4) การทดสอบทางจิตวิทยา
(5) การศึกษาประวิ'ติรายกรณี
8.ใครทำหน้าที่คัดเลือกบุคลากร วิเคราะห์ ประฌบผลงาน'รกอบรม และพัฒบาองค์การ ตปีบ 4 หน้า 16 นักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองศึก'ไร จะทำหน้าที่คัดเลือกบุคลากร วิเคราะห์งาน ประเมินกลงาน ผกอบรม ปรับปรุงสภาพการทำงาน และมนุษยสัมพันธ!นการทำงาน รวมทัง การจัดแกะพัฒนาองค์การ
(1) นักจิตวิทยาการศึกษา
(2) นักจิตวิทยาคลินิก
(3) นักจิตวิทยาสังคม
(4) นักจิตวิทยาอุตสาหกรรม
(5) นักจิตวิทยาพัฒนากา
9. ใควทำหน้าที่จิตบำบัด และช่วยแก้ปีญหาทางอารมณ์
(1) นักจิตวิทยาการศึกษา
(2) นักจิตวิทยาคลินิก
(3) นักจิตวิทยาสังคม
(4) นักจิตวิทยาอุตสาหกรรม
(5) นักจิตวิทยาพัฒนากา
10. ก'1รนำกระแสประสาทออกจากเซลล์ประสาทเน้นหน้าที่ชอง
(1) ตัวเซลล์
2) แอ๊กซอน
(3) ใยประสาท
(4) เดรนไดรทํ
(5) เกลิยลเซลล์
11. การศึกษาเพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายกับการเกิดพฤติกรรม . เน้นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด
(1) สรึรจิตวิทยา
(2) พันธุศาสตร์
(3) ประสาทวิทยา
(4) จิตวิทยา
(5) เชลล์วิทยา
���ารเคลื่อนไหวของร่างกายเกิดจากการทำงานของระบบใด
(1) ระบบหายใจ
(2) ระบบกล้ามเนื้อ
(3) ระบบหมุบเวียนโลหิต
(4) ระบบโครงกระดูก
(5) ระบบประสาท
���ารเกิดความรู้สึกร้อน-เย็น เกี่ยวข้องกับการทำงาบของระบบประสาทส่วนใด
(1) ระบบประสาทส่วนกลาง
(2) ระบบประสาทขิมพาเธดิก
(3) ระบบประสาทพาราขิมพาเธติก
4) ระบบประสาทโซมาติก
(5) ระบบประสาทอัตโนมัติ
���าการสั่นของกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหวมีความยากลำบาก เกิดจากความผิดปกติของสารลื่อประสาทใด
(1) กาบา
(2) โดปามาย
(3) ซีโรโทบิน
(4) นอร์อีหิแนฟฟริน
(5) อะซีทิลโคลน
���มองส่วนใดที่ควบคุมการเกิดอารมณ์ของบุคคล
(1) ลิมบิก
(2) ไฮโปธาลามัส
(3) ธาลามัส
(4) ซีรืบรัม
(5) ซีรืเบลสัม
���ฏิกิริยา Reflex Action เกี่ยวข้องกับการทำงานของส่วนใด
(1) ซีรืเบลลัม
(2) ซีรีบรัม
(3) ก้านสมอง
(4) สมองส่วนกลาง
(5) ไขสันหลัง
���่อมไร้ท่อใดทำหน้าที่ผลิตโกร๊ธฮอร์โมน
(1) ต่อมไทรอยด์
(2) ต่อมพาราไทรอยด์
(3) ต่อมพิทูอิทารื
4) ต่อมหมวกไต
(5) ต่อมไทมัส
18. ฮอร์โมนชนิดใดที่ทำหน้าที่ควบคุมระดับนํ้าตาลในเสือด
(1) โทรีธฮฺอร์โมน
(2) อินชูลน
(3) คอร์ติซอล
(4) โปรเจสเตอโรน
(5) :เทส'โพลมตอโ'รบ
19. การรับรู้มีองค์ประกอบใดที่สำคัญที่สุด
) ความคิด
2) ประสบการณ์
(3) อารมณ์
(4) การเสริมแรง
(5) ความประทับใจ
���ซลล์สำคัญในการรับภาพที่เป็นขาวดำในจอรับภาพเรตินาคืออะไร
(1) รอดล์
(2) โฟเวีย
(3) โคนส์
(4) บาซิลาเมมเบรน
(5) ไม่มีข้อใดถูก
���น่วยวัดความถี่ของคลื่นเสียงเรียกว่าอะไร
(1) ความถี่
(2) เฮิรตซ์
(3) กิโลเมตร
(4) เทรซโฮลด์
(5) เดซิเบล
���ัมผัสอีควิลิบราทอรี่ อธบาอเรี่องใด
(1) การเคลื่อนไหวของร่างกาย
(2) อาการสัมผัสผิวหนังแบบทุติยภูมิ
(3) การทำงานของผิวหนังชั้นหนังกำพร้า
(4) การทำงานของผิวหนังชั้นหนังแท้
(5) การทรงตัว
23. ข้อใดไม่ใช่สัมผัสแบบทุติยภูมิทางผิวกาย
(1) คัน
(2)ปวดร้าว
(3) เย็น
(4)จั๊กจี้
(5)ไม่มีข้อใดถูก
24. เทรฃโฮลด์ความแตกต่างคือ
(1) จำนวนพลังงานที่มีความถี่ตรสุดที่อินทรีย์สามารถรับรู้ได้เป็นครั้งแรก
(2) จำนวนพลังงานที่มีความถี่สูงสุดที่อินทรีย์สามารถรับรู้ได้เป็นครั้งแรก
(3) จำนวนพลังงานที่มีความถี่ระดับที่ปลอดภัยต่อการรับเของอินทรีย์
(4) การเปลี่ยนแปลงของสิ่งเร้าที่มีอยู่แล้วในจำนวนน้อยที่สุดที่สามารถรู้สึกได้
(5) การเปลี่ยนแปลงของสิ่งเร้าที่มีอยู่แล้วในจำนวนมากที่สุดที่สามารถรับรู้ได้
���ารทดลองเกี่ยวกับหน้าผามายามีวัตถุประสงค์เพื่อคืกษาเรื่องใด
(1) การรับรู้ความชื้น
(2) การรับรู้ความยาว
(3) การรับรู้ความแรง
(4) การรับรู้ความลึก
(5) การรับรู้การสะท้อน
���้อใดต่อไปนไมไข่การรับรู้ภาพดามหลักของเกสตัลทํ
(1) มีลักษณะเต่นออกมา
(2) ภาพสองนัย
(3) มีรูปร่างเห็นอย่างขัดเจน
(4) มีขอบเขตที่ขัดเจน
(5) มีลักษณะเป็นแอ่ง
แนวโน้มที่จะรับรู้วัตถุโดยการต่อเติมให้สมบูรณ์
(1) Closure
(2) Comrrionfate
(3) Similarity
(4) Continuity
(5) Proximity
28. การล่วงรู้ความนีกคืดของผู้อื่น โดยไม่ต้องพูดคุยกัน เรียกว่าอะไร
(1) Precognition
(2) Telepathy
(3) Clairvoyance
(4) Illusion
(5) Hallucinations
���้อใดต่อไปนี้ข้อความใดไม่ถูกต้องในเรื่องของภาวการณ์รู้ตัวและภาวการณ์ไม่รู้ตัว
(1) ถ้าสิ่งเร้ามากระทบประสาทสัมผัสในระดับสูงจะเกิดความตื่นตัวและเครียดได้
(2) ในแต่ละช่วงอายุจะมืแบบแผนในการนอนต่างกับไป
(3) เวลาที่มีภาวการณ์รู้ตัวน้อยทำให้เรารู้สึกว่าสภาวะแห่งตัวตนมีความข้ดเจบ
(4) สมาธิภาวนา เป็นสภาวะการแน่วแน่ของจิต
(5) ทุกข้อที่กล่าวมา
���มอเวลาที่เราเคลิ้มที่จะหลับใบฺระยะแรกคลื่นสมองเป็นอย่างไร
1(1) แอลฟาประบราย
2(2) เดลดาล้วน ๆ
3(3) ธีตา
4(4) เดลตาสลับกับธีตา
5(5) บิตา
���ุง (Jung) เสนอแนวคิดที่สอดคล้องกับแนวคิดของฟรอยด์ (Freud) ในเรื่อง
1(1) Activation-Synthesis Hypothesis
2(2) เป็นส่วนหนี่งของการแสดงออกของจิตใต้สำนึก
33) การแปลสัญลักษณ์ของความฝืนไม่ต้องเกี่ยวกับความต้องการทางเพศ
4(4) ตามขั้นพัฒนาการของมนุษย์
5(5) ทฤษฎีแรงแม่เหล็กแห่งสัตว์
���ครื่องดื่มมีนเมา เป็นยาเสพติดอยู่ในประ๓ทใด
1(1) กระตุ้นประสาท
2(2) ออกฤทฮิ้ผสมผสาน กระตุ้นกับหลอนประสาท
33) หลอนประสาท
4(4) สะกดประสาท
5(5) กดประสาท
33. ข้อใดไม่ถูกต้องในเรื่องของการสะกดจิต
1 (1) บุคคลทุกคนสามารถ!!เกให้สะกดจิตตนเองได้
2 (2) การสะกดจิตตัวเองช่วยในเรื่องการปรับปรุงบุคลิกภาพไต้
3(3) การสะกดจิตเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้ถูกสะกดจิตถูกบงคับ
4(4) การสะกดจิตช่วยให้ความจำดีขึ้นกว่าวิธีการอื่น ๆ
5(5) การสะกดจิดมิไต้มีประโยชน์รักษาโรคไต้อย่าง “ครอบจักรวาล”
���ักจิตวิทยาท่านใดที่อธีบายความฝืนเกี่ยวกับการชดเชยทางจิตใจ
1(1) ฟรอยต์
2(2) จุง
3(3) แอดเลอร์
4 (4) รอบชัน-แมคคาเลย์
5(5) วิลเลียม ดีเมนท์
���ฤษฎี Activation-synthesis Hypothesis เป็นของท่านใด
1(1) ฟรอยด์
2(2) จุง
3(3) แอดเลอร์
4(4) รอบชัน-แมคคาเลย์
5(5) วิลเลียม ดีเมนท์
���้อใดอธิบายไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ REM
1(1) ลูกตาของผู้นอนมีกา'รเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว
2(2) เกิดขึ้นในการนอนหลับในระยะที่หนงเท่าบั้น
3(3) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์มิความฝืนเกิดขึ้น
4(4) มนุษย์มีความจำเป็นต้องนอนหลับและฝืนทุก
5 (5) ความฝืนแต่ละครั้งจะมีความยาวประมาณหนึ่งชั่วโมง
���ักจิตวิทยาท่านใดที่เป็นผู้นำในเรื่องของความฝืนในการศึกษาสาเหตุและประโยขน์ของความฝืน (1
1 (1) ฟรอยดี
2(2) จุง
3 (3) แอดเลอร์
4(4) รอบชัน-แมคคาเลย์
5(5) วิลเลียม ดีเมนท์
38. ข้อใดไม่ไข่เทคนิคในการสะกดจิตที่นิยมใช้ในปัจจุบัน (1) วาดภาพสิ่งที่ตนเองคิด
1 (1) วาดภาพสิ่งที่ตนเองคิด
2(2) ใช้การผ่อนคลายให้อ่อนแรง
3(3) การรับคำแนะนำของผู้สะกดจิต
4(4) เพ่งความสนใจไปในคำพูดผู้สะกดจิต
5(5) ใม่มีข้อใดเป็นคำตอบ
39. ข้อใดถูกต้องที่สุดกับความหมายของคำว่า “พัฒนาการมนุษย์”
1(1) ลักษณะทางร่างกายที่มีการเจริญเตบโตอย่างรวดเร็ว
2(2) กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและสมองอย่างเป็นระบบ
3(3) กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับร่างกาย สคิปัญญา ลังคม อารมณ์
4(4) ความ!ความเช้าใจในพสุคิกรรมของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
5(5) ลักษณะทางร่างกายที่มีการถ่ายทอดผ่านทางยีนส์
40. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันสุกร
1(1) รูปร่างหน้าตา
2(2) โรคเบาหวาน
3(3) ตาบอดสี
4(4) สีของผิว
5(5) ปวดศีรษะต่อเนี้อง
41. อาการของกลุ่ม Klinefelter's Syndrome จะมีลักษณะเขลล่เพคเป็นอย่างไร
1(1) มี Autosome ผิดปกติ
2(2) XXY
3(3) XO
44) XYY
5(5) XYO
42. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับฝาแฝดคล้าย
1(1) เหมือนแฝดอิน-จัน
2(2) มีไข่ 1 ฟอง อสุจิ 1 ตัว
3(3) มีไข่ 2 พ่อง อสุจิ 2 ตัว
4(4) มีเพศเดียวกันเสมอ
5(5) มีเพศต่างกันเสมอ
���้อใดเป็นลักษณะที่นักจิตวิทยาเชื่อว่า “ได้รับอิทธิพลมาจากพันธุกรรมมากกว่าสิงแวดล้อม”
1(1) ลักษณะทางร่างกาย
2(2) ความสามารถทางสติปีญญา
3(3) การถ่ายทอดทางอารมณ์
4(4) ลักษณะบุคลิกภาพ
5(5) ความสามารถในการกระทำสิ่งต่าง ๆ
���้อใด!บ่ถูกต้องเกี่ยวกับพัฒนาการทางร่างกาย
1(1) ทุกคนมีพัฒนาการร่างกายจากส่วนศีรษะไปสู่ส่วนล่างของร่างกาย
2(2) ลำดับขั้นพัฒนาการที่ถูกต้อง คือ คลาน คืบ ตั้งไข่ ก้าวเดิน
3(3) แต่ละข่วงอายุของแต่ละคนจะมือัตราพัฒนาการไม่เท่าเทียมกัน
4(4) พัฒนาการจะเริ่มจากส่วนกลางของร่างกายไบ่สู่ส่วนย่อยของร่างกี่าย
5(5) การเจริญเติบโตของร่างกายของแต่ละข่วงอายุของแต่ละคนจะมีพัฒนาการที่ไม่เท่ากัน
���้อใดเป็นแนวคิดของฟรอยด้ (Freud)
1(1) การมีวุฒิภาวะทางร่างกายเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษย์ทุกคน
2(2) มนุษย์จะมีความสามารถทางด้านสติป็ญญาสูงสุดเมื่ออายุประมาณ 15 ปี
3(3) พัฒนาการทางด้านจิตสังคมจะเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอดไปจนถึงวัยสิ้นสุดของชีวิต
4(4) พัฒนาการทางเพศ มี 5 ขั้น คือ ขั้นปาก ทวารหนัก อวัยวะเพศ ระยะแฝง วัยรุ่น
5(5) การให้เหตุผลเชีงจริยธรรมจะมี 3 ระดับ 6 ขั้น คือ ก่อนลังคม ตามลังคม เหนือลังคม
46. จ้อใดเป็นแนวคิดของกิเซลล์ (Gesell)
11(1) การมีวุฒิภาวะทางร่างกายเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษย์ทุกคน
22(2) มนุษย์จะมีความสามารถทางด้านสติป็ญญาสูงสุดเมื่ออายุประมาณ 15 ปี
33(3) พัฒนาการทางด้านจิตสังคมจะเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอดไปจนถึงวัยสิ้นสุดของชีวิต
44(4) พัฒนาการทางเพศ มี 5 ขั้น คือ ขั้นปาก ทวารหนัก อวัยวะเพศ ระยะแฝง วัยรุ่น
55(5) การให้เหตุผลเชีงจริยธรรมจะมี 3 ระดับ 6 ขั้น คือ ก่อนลังคม ตามลังคม เหนือลังคม
47. จ้อใดเป็นแนวคิดของอิริคลัน (Erikson)
11(1) การมีวุฒิภาวะทางร่างกายเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษย์ทุกคน
22(2) มนุษย์จะมีความสามารถทางด้านสติป็ญญาสูงสุดเมื่ออายุประมาณ 15 ปี
33(3) พัฒนาการทางด้านจิตสังคมจะเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอดไปจนถึงวัยสิ้นสุดของชีวิต
44(4) พัฒนาการทางเพศ มี 5 ขั้น คือ ขั้นปาก ทวารหนัก อวัยวะเพศ ระยะแฝง วัยรุ่น
55(5) การให้เหตุผลเชีงจริยธรรมจะมี 3 ระดับ 6 ขั้น คือ ก่อนลังคม ตามลังคม เหนือลังคม
48. ข้อใดMiพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้
1(1) การว่ายนํ้าได้ของ'?เมศรี
2(2) สุนัขยืนและเดินด้วยซาสี่ขา
3(3) สมลักษณ์นั้าลายไหลเมื่อเห็นนามะนาว
4(4) เด็กถือขวดนมและดูดนมด้วยตนเอง
5(5) การสวัสดีด้วยการไหว้ของคนไทย
49. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดภารเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไฃที่ไต้ผลที่สุด
1(1) ให้สี่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไขหลังสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไขครึ่งวินา
2(2) ให้สี่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไขหลังสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไขครึ่งนาที
3(3) ให้สิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไขหลังสิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไขครึ่งวินาที
4(4) ให้สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไขหลังสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไขครึ่งวินาที
5(5) ให้สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไขพร้อม ๆ กับสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข
50. หลังจากการตอบสนองที่วางเงื่อนไขถูกระงับ แต่ต่อมาอินทรีย์สามารถแสดงพฤติกรรมตอบสนองเดิมได้อีก
1(1) การปรับพฤติกรรม (Shaping)
2(2) การเสริมแรง (Reinforcement)
3(3) การที่นกลับ (Spontaneous Recovery)
4(4) ความเหมือน (Generalization)
5(5) การแยกความแตกต่าง (Discrimination)
51. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
1(1) การตอบสนองเป็นพฤติกรรมที่ควบคุมไม่ไต้
2(2) การเสริมแรงเกิดก่อนการตอบสนอง
3(3) การตอบสนองเป็นปฏิกิริยาสะท้อน
4(4) การตอบสนองแสดงออกมาเองโดยไมใต้ถูกกระตุ้น
5(5) การตอบสนองถูกกระตุ้นให้แสดงออก
52. บกแก้วจะมีพฤติกรรมถี่ขึ้บเมื่อคาบห่วงสิไปคล้องเสาที่มีสิตรงกับห่วงแล้วได้รับอาหารหยอดที่ปากเรียกว่าอะไร
1(1) การเสรีมแรงทางบวก
2(2) การเสรีมแรงทางลบ
3(3) การป้อนกลับ
4(4) สิงเสรีมแรงทุติยภูมี
5(5) การปรับพฤติกรรม
53. พนักงานได้ค่า Commission ในการขายสิบล้า เรียกว่าเป็นการเสรีมแรงแบบไหน
1(1) ช่วงเวลาคงที่ (Fixed Interval)
2(2) ช่วงเวลาไม่แน่นอน (Variable Interval)..
3(3) อัตราส่วนคงที่ (Fixed Ratio)
4(4) อัตราส่วนไม่แน่บอบ (Variable Interval)
5(5) บางครั้งบางคราว (Partial Reinforcement)
54. ข้อใดเป็นการเสรีมแรงทางลบ
1(1) ปีบข้ามถนนโดยขึ้นสะพานลอยทุกครั้งเพื่อความปลอดภัย
2(2) ด้อยได้รับคำซมจากแม่ทุกครั้งที่อ่านหนังสือ
33) ป้องถูกห้ามไมให้ตูทวีเพราะไม่ทำการบ้าน
4(4) สุนัขถูกติปากทุกครั้งที่กัดสิ่งของเสียหาย
5(5) ต้องซอบไปข้อปปิงตอนมิดไนทํเพราะของถูก
55. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการทำให้การลงโทษได้ผลดีขึ้น
1(1) ลงโทษทันทีที่พฤติกรรมสิ้นสุดลง
2(2) ลงโทษทุกครั้งที่แสดงพฤติกรรมนั้น ๆ
3(3) ลงโทษด้วยความรุนแรงที่จะทำให้อินทรีย์หยุดพฤติกรรม
4(4) ต้องไม่เสรีมแรงเพื่อระงับพฤติกรรม
5(5) การลงโทษต้องไม่ทำให้อินทรีย์เกิดความคับข้องใจ
56.' ข้อใดไม่ใช่ผลข้างเคียงของการลงโทษ
1' พทำให้๓ตความเจ็บปวด
2(2)'ทำให้เพิ่มแรงจูงใจในการตอบ?เนอง
3(3) สถานการณ์ที่เซื่อมโยงกับการลงโทษจะกลายเป็นสิ่งที่ไม่น่าพึงพอใจ
4(4) ทำให้ความก้าวร้าวเพิ่มขึ้น
5(5) สิ่งเร้าที่ไม่น่าพึงพอใจจะกระตุ้นให้เกิดการหลีกเลี่ยง
57. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้โดยไม่มืตัวเสริมแรง เรียกการเรียนรู้นี้ว์าอะไร
1(1) แบบคลาสสิก
2(2) แบบการกระทำ
33) แบบทักษะ
4(4) การเรียนรู้แฝง
5(5) การเรียนรู้เขิงปฏิบั
���ารที่เราสามารถเก็บภาพติดตาและเลียงก้องในหูได้เกี่ยวข้องกับระบบความจำใด
1(1)ความจำระยะสั้น
2(2)ความจำระยะยาว .
3(3)ความจำจากการรันสัมผัส
4(4) ความจำขณะปฏิน้ติงาน
5(5) ความจำคู่
59. ข้อใดต่อไปนี้!ณ์เกี่ยวข้องกับการจำขณะปฏิบัติงาน
1(1) ช่วยในเรื่องการคิดเลขในใจ
22) เป็นส่วนหนึ่งของระบบการจำระยะสั้น
3(3) ถูกรบกวนได้ง่าย
4(4) ช่วยเรื่องการจำสิ่งของที่สั่งซื้อได้
5(5) เป็นส่วนหนึ่งของระบบการจำระยะยาว
60. ระบุบการจำใดทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญ
1(1) ระบบความจำระยะสั้น
2(2) ระบบความจำระยะยาว
3(3) ระบบการจำจากการรับสัมผัส
4(4) ความจำขณะปฏิบัติงาบ
5(5) ระบบความจำคู่
61. แบบทดสอบช่วงการจำตัวเลข Digit Span เป็นแบบทดสอบที่วัดความจำระบบใด
1(1) ระบบความจำระยะสั้น
2(2) ระบบความจำระยะยาว
3(3) ระบบการจำจากการรับสัมผัส
4(4) ความจำขณะปฏิบัติงาน
55) ระบบความจำคู่
62. ข้อใดต่อไปบี้เป็นการวัดความจำจากการระลึกได้
1(1) น้อย จำซื่อเพื่อนที่เรียบด้วยกันตอนประถมไม่ได้ แต่พอได้เห็นรูปเพื่อนก็จำซื่อเพื่อนได้ทันที
2(2) พลอย สามารถท่องบทกลอนที่ครูอ่านให้ฟังได้อย่างถูกต้องทุกตัวอักษร
3(3) จันทร์ ใช้เวลาในการอ่านหนังสือเตรียมสอบได้เร็วกว่าครั้งแรก
4(4) ภูมิ นึกถึงภาพการเดินทาง ความสนุกสนานตอนไปเที่ยวเชียงใหม่เมื่อได้เห็นครั้งนั้น
5(5) ยศ สามารถตอบข้อสอบได้เมื่อเห็นตัวเลือกในข้อสอบ
63. สาเหตุที่ทำให้เกิดการลึมขึ้บในระบบความจำระยะสั้นและการจำจากการรับสัมผัสคือข้อใด
1(1) การเสื่อมสลาย
2(2) การไม่ได้ลงรหัส
3(3) การลืมเพราะ1ขึ้นอยู่กับสิ่งซี้แบะ
4(4) การรบกวน
5(5) การเก็บกด
64. ข้อใดไม่ใช่หน่วยพื้นฐานของการดิด
1(1) จินตภาพ
22) มโนทัศน์
3(3) ภาษา
4(4) การหยั่งเห็นคำตอบทันที
5(5) การตอบสนองทางกล้ามเนื้อ
65. จากการทดลองของโคเลอร์ การที่ลิงขิมแปนชีสามารถนำกล่องกระดาษมาต่อกับเพื่อหยิบกล้วยที่แขวนอยู่ ในทันทีได้ เป็นการแล้ปึญ'หาแบบ1โด
1(1) แก้ปิญหาโดยทำความเข้าใจ
2(2) แก้ป็ญหาโดยการหยั่งเห็นคำตอบในทันที
3(3) แก้นึญหาโดยใข้เครื่องจักร
4(4) แก้ป็ญหาจากการตอบที่เป็นไปได้หลายคำตอบ
5(5) แก้ป็ญหาโดยคิดว่าคำตอบทั่วไปของคำตอบที่ถูก
66. ข้อใดเป็นกระบวนการเริ่มด้นของการ้เกิดแรงจูงใจ
1(1) การตอบสนอง
2(2) ความต้องการ
3(3) สิ่งที่มาเร้า
4(4) เป้าหมาย
5(5) การเรียนร้นละประสบการณ์
67. ข้อใด!ม่ถูกต้องเกี่ยวกับแรงจูงใจ
1(1) สิ่งเร้าเดียวกันทำให้บุคคลมีความต้องการแตกต่างกัน
2(2) เมื่อมีแรงจูงใจเกิดขึ้นทุกคนจะมีการตอบสนองที่เหมีอนกัน
3 (3) สิ่งที่มาเร้าต่างกันจะทำให้บุคคลมีการตอบสนองที่แตกต่างกัน
4(4) สิ่งที่เคยจูงใจได้ในอดีต แต่เวลาผ่านไปอาจจะไม่สามารถจูงใจไต้
5(5) เมื่อบุคคลบรรลุเป้าหมายตามที่ตนต้องการจะทำให้แรงจูงใจในสิ่งนั้นลดลง
68. ข้อใดเป็นระดับความต้องการขั้นสูง (Growth Needs)
1(1) ความต้องการทางด้านร่างกาย
2(2) ความต้องการความมั่นคง '
3(3) ความต้องการความปลอดกัย
4(4) ความต้องการตระหนักรู้ในตนเอง
5(5) ความต้องการทางเพศ
€�แรงจูงใจที่ต้องการให้ตนประสบความสำเร็จในการเรียนหรือการทำงาน” เรียกว่าอะไร
11) แรงจูงใจใฝ่ลัมฤทธี้
2(2) แรงจูงใจใฝ่ลัมพันธ์
3(3) แรงจูงใจภายใบ
4(4) แรงจูงใจพื้นฐาน
55) แรงจูงใจเพื่อความอยู่รอดของซีวิต
“แรงขับที่กระโดดลงนํ้าไปช่วยคนจมนํ้า ถ้าว่ายนํ้าไม่เป็นก็จะตะโกนให้คนอื่นช่วย” เรียกว่า
1(1) แรงขับเพื่อการอยู่รอด
2(2) แรงขับเพื่อหลีกหนีอันตราย
3(3) แรงขับฉุกเฉิน
4(4) แรงขับความต้องการพื้นฐาน
5(5) แรงขับจากสิ่งเร้าภายนอก
71. ข้อใดไม้ถูกต้องเกี่ยวกับทฤษฎีแรงขับ
11) แต่งกายยั่วยวน เพราะต้องการให้ผู้ซายสนใจ
2(2) ทุกคบต้องแสวงหาอากาศ นา อาหาร เพื่อความอยู่รอดของซีวิต
3(3) แม้จะทำงาบแล้ว แต่ยังคงอ่านและศึกษาความรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา
4(4) เมื่อไฟไหม้บ้าน สามารถยกตู้เย็บใบใหญ่ไต้ด้วยตัวคนเดียว
5(5) ไปหาแพทย์เพราะเกรงว่าตนจะบ้วยเป็นโรค
72. “การตัดสินใจทำสิ่งต่าง ทุ่ ด้วยความตั้งใจจริง ทำสิ่งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม” ตรงกับทฤษฎีใด
1(1) ทฤษฎีสัญขาตญาณ
2(2) ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล
3(3) ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ
4(4) ทฤษฎีแรงขับ
5(5) ทฤษฎีความต้องการความสุขส่วนตัว
3. “ก่อนมีเพศสัมพันธ์จะต้องทุบติกันและกันอย่างรุนแรง” ตรงกับทฤษฎีใ
11(1) ทฤษฎีสัญขาตญาณ
22(2) ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล
33(3) ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ
44(4) ทฤษฎีแรงขับ
55(5) ทฤษฎีความต้องการความสุขส่วนตัว
4. “การดำรงซีวิตอยู่ ความตาย และลักษณะทางสังคม” ตรงกับทฤษฎีใด
11(1) ทฤษฎีสัญขาตญาณ
22(2) ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล
33(3) ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ
44(4) ทฤษฎีแรงขับ
55(5) ทฤษฎีความต้องการความสุขส่วนตัว
75. ข้อใดไม้ถูกต้องเกี่ยวกับอารมณ์
1(1) เป็นการประเมินประสบการณ์ความรู้สึกส่วนบุคคล
2(2) การประเมินในสิ่งที่เกิดขึ้นจะแตกต่างกัน
3(3) สามารถปกปีดความรู้สึกของตนไต้อย่างมิดขิด
4(4) ทุกคบจะมีการแปลความหมายที่แตกต่างกัน
55) แต่ละคนจะมีการแสดงความรู้สึกออกมาต่างกัน
76. ใครทีแบ่งอารมณ์ออกเน้น “คาดหวัง เดือดดาล ตื่นตระหนก และหวาดกลัว” 1.
1(1) พลูทขิค (Plutchik
2(2) แพงคํเขปน้ (Panksepp)
3(3) อิซาร์ด (Izard)
4(4) บริดเจส (Bridges)
5(5) แอ็กชิ (Ax)
77. ข้อใดไม่ได้มีส่วนในการทำงานในขณะที่บุคคลเกิดอารมณ์
1(1) ระบบ'ประสาทลิมนิก
2(2) ระบบประสาทอัตโนมัติ
3(3) ต่อมพัทูอทารี
4(4) สมองส่วนไฮโปธาลามัส
5(5) มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นสมอง
78. ข้อใดเน้นอารมณ์แรกคลอดของมนุษย์
1(1) ความรู้สึกตื่นเต้น
2(2) ความรู้สึกรัก
3(3) ความไม่พอใจ
4(4) ความรู้สึกที่ดื
5(5) ความรู้สึกพอใจ
9. ข้อใดเน้นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายมากที่สุด
1(1) ความริษยา
2(2) ความโกรธ
3(3) ริษยาและโกรธ
4(4) ความกลัว
5(5) โกรธและกลัว
80. ขณะที่เกิดความรู้สึกกลัว ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดใด
1(1) แอดรินาลิบ
2(2) นอร์แอด'รี'นาลิบ
3(3) ไทร็อกชิน
4(4) โพลีกราฟ
5(5) GSR
���้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะแสดงออกทางใบหน้า
1(1) ใบหน้าสามารถแสดงความรู้สึกถึง 20,000 แบบ
2(2) การแสดงออกทางใบหน้าเป็นการผสมผสานความรู้สึก 2 ซนิดขึ้นไป
3(3) มิติของอารมณ์จะดูไต้จากมิติ ความพอใจ/ยอมรับ/ปฏิเสธ
4(4) ทุกชาติทุกภาษาจะมิการแสดงออกทางใบหน้าเหมือนกัน
5(5) การแสดงออกทางใบหน้าเป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด
2. ข้อใดตรงกับ “ร่างกายจะตอบสนองเป็นลำดับแรก และอารมณ์จะตามมา”
1(1) แคบนอน-บาร์ด (Cannon-Bard Theory)
2(2) เจมส์-แลง (James-Lang Theory)
3(3) แซคเตอร์-ซิงเกอร์ (Schachter-Singer Theory)
4(4) Contemporary Model of Emotion
5(5) The Expression of Emotion in Man and Animal
83. ข้อใดตรงกับ “การแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์และสัตว์เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการอยู่รอด”
1(1) แคบนอน-บาร์ด (Cannon-Bard Theory)
2(2) เจมส์-แลง (James-Lang Theory)
3(3) แซคเตอร์-ซิงเกอร์ (Schachter-Singer Theory)
4(4) Contemporary Model of Emotion
5(5) The Expression of Emotion in Man and Animal
84. นิยามที่ว่า “โครงสร้างพลังงวนของระบบจิตสรีระของเอกัตบุคคลที่ทำให้เขามีเอกลักษณ์ในการปรับตัวต่อ สิ่งแวดล้อม” โดยอัลพอร์ท เป็นนิยามความหมายของ
1(1) บุคลิกภาพ
2(2) สติป้ญญา
3(3) สรีระจิตวิทยา
4(4) พุทธินิญญา
5(5) อารมณ์
85. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอีโก้ (Ego)
1(1) เป็นกระบวนการทำงานของจิตใจ โดยยึดหลักฅวามพึงพอใจ
2(2) เป็นกระบวนการทำงานของจิตใจที่อยู่ในระดับจิตใต้สำนึกเท่านั้น
3(3) เป็นกระบวนการทำงานของจิตใจที่ยึดหลักเหตุผลในการพิจารณา
4(4) เป็นกระบวนการทำงาบของจิตใจที่ทำให้เรารู้จักบาปบุญคุณโทษ
5(5) เป็นกระบวนการทำงานของจิตใจที่เกัดจากการอบรมสั่งสอนจากผู้เลี้ยงดู
86. ยงยุทธมีความรักกับผู้หญิงคนหบี้ง แต่เธอไม่รักตอบ ยงยุทธจิงฉุดผู้หญิงคนนั้น เป็นการทำงานของ
1(1) ก''รทำงานของอีโก้ (Ego) กับซูเปอร์อีโก้ (Supereg
2(2) การทำงานของอิด (Id) กับอีโก้ (Ego)
3(3) การทำงานของซูเปอร์อีโก้ (Supere
4(4) กๆรทำงานของอีโก้ (Ego)
55) การทำงานของอิด (Id)
87. แบบทดสอบรอร์ซาค เป็นแบบทดสอบชนิดใด
1(1) แบบทดสอบปรนัย
2(2) แบบทดสอบสติป็ญญา
3า(3) แบบสังเกต
4(4) แบบทดสอบฉายภาพจิต
5(5) แบบสัมภาษณ์กี่งโครงสร้าง
88. บุคลิกภาพเกิดจากการเรียนรู้และปรับตัวเข้ากับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เป็นแนวคิดของกลุ่มใด
1(1) พฤติกรรมนิยม
2(2) จิตวิเคราะห์
3(3) กลุ่มที่แบ่งบุคลิกภาพตามประเภท่แสะโครงสร้าง
4(4) เอกซิสเทนซี่ยล
5(5) เกสตัลห์
89. การวางเงื่อนไขมีผลต่อการแสดงออกทางพฤติกรรม เป็นแนวคิดของใคร
1(1)ฟรอยดั
2(2)โรเจอร์ส
3(3) อัลพอร์ท
4(4)สกันเนอร์
5(5) เซลดอน
90. ผู้ที่มีพฤตกรรมก้าวร้าวทางวาจา ขอบโต้เถียง และถากถางผู้อื่น เกิดจากการไมใต้รับการตอบสบอง ทางปากทื่เหมาะสมในวัยเด็ก เป็นแนวคิดของใคร
1(1)ฟรอยดั
2(2)โรเจอร์ส
3(3) อัลพอร์ท
4(4)สกันเนอร์
5(5) เซลดอน
91. ระบบจิตสรีระของมนุษย์จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อม เป็นแนวคิดของใคร
11)ฟรอยดั
2(2)โรเจอร์ส
3(3) อัลพอร์ท
4(4)สกันเนอร์
5(5) เซลดอน
92. บายพรมีรูปร่างอ้วน จึงน่าจะเป็นคบที่อารมณ์ดี ร่าเริง สนุกสนาน รักความสบาย แสดงว่าเราพิจารณา บุคลิกภาพของนายพรตามแนวคิดของใคร
1(1)ฟรอยดั
2(2)โรเจอร์ส
3(3) อัลพอร์ท
4(4)สกันเนอร์
5(5) เซลดอน
93. อัตตาพัฒนามาจากประสบการณ์รับรู้ของบุคคล ก่อกำเนิดภาพลักษณ์หรืออัตมโบทัศน์
1(1)ฟรอยดั
2(2)โรเจอร์ส
3(3) อัลพอร์ท
4(4)สกันเนอร์
5(5) เซลดอน
94. ใครสร้างแบบทดสอบวัดสติปีญญาขึ้บเป็นคนแรก
1(1) เวคส์เลอริ
22) บิเนต,
3(3) แขนดร้า สการ์
4(4) เดนนิส คูน
5(5) เทอริแมน
95. ทฤษฎีสติปีญญาแบบตัวประกอบ 2 ปีจจัย เป็นแนวคิดของใคร
1(1) เทอริแมน
2(2) กิลฟอริต
3(3) เวคส์เลอริ
4(4) ขาริล สเปียริแมน
5(5) ฟรานซิส กัลตัน
���ัวประกอบทั่วไปหรือ g-factor คือความสามารถด้านไต
11)การคำนวณ
2(2)ศิลปะ
3(3) การไข้เหตุผล
4(4) การไข้มือ
5(5) การสังเกต
���้อใดไมใช่ทฤษฎีสติบิญญาตัวประกอบหล'าย็บิจจัย
1(1) ศิลปะ
2(2) การมองเห็นภาพมิติ
3(3) การไข้เห่ตุผล
4(4) ความเข้าใจภาษา
5(5) .ความจำ
���ูตรการคำนวณ 1.0. คือข้อใด
1ma/ca
2c.a/m.a
3m.a/c.a=100
4c.a/m.a=100
5m.a*100
���ติป้ญญาระดับปกติ (Average) คือระดับใด
1(1) 121 — 130
2(2) 111 - 120
3(3) 91 - 110
4(4) 80- 89
5(5) 70 - 79
100. แบบทดสอบวัดสติปีญญาแบบใดไม่ใช้ถ้อยคำภาษา
1(1) Stanford-Binet
2(2) WAIS
3(3) Wise
4(4) Progressive Matrices
5(5) Rorschach
101. แบบทดสอบวัดสติปัญญาฉบับหบี่งสามารถวัดสติปัญญาได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ นับว่ามีคุณสมบัติ ใบข้อใด
(1) Validity
(2) Reliability
(3) Objectivity
(4) standardization
(5) Norms
102. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบเซิงภาษาของแบบวัดสติปัญญาของเวคสเลอรี
1(1) ความเข้าใจ
2(2) ความรู้ทั่วไป
3(3) การจาช่วงตัวเลข
4(4) ความคล้ายกัน
5(5) การลำดับ.ภาพ
103. สเตอรีเบิรีก ซื้1ห้เห็นว่าบุคคลที่มิสติปัญญาดึแต่กลับมิความล้มเหลวในการดำเนินชีวิตด้วยเหตุหลายปัจจัย แต่ข้อใดไม่ใช่
1(1) ผัดวันประกันพรุ่ง
2(2) ให้ผู้อื่นพี่งพามากเกินไป
3(3) มิความเขื่อมั่นในตนเองมากเกินไป
4(4) กลัวความผิดพลาดล้มเหลว
5(5) ไม่สามารถรีรอความพังพอใจได้
04. ขอใดต่อไปบื้คือบุคลิกภาพแบบ “A”
1(1) หาเวลาพักผ่อน
2(2)ง่ายๆสบายๆ
3(3)ขอบการแข่งขันและใจร้อน
4(4) ทำอะไรค่อยเป็นค่อยไป
5(5) ไม่ชอบทำอะไรหลายอย่างในเวลาเดียวกัน
105. เมื่อร่างกาย๓ดฅวามเครียดระบบ'ประสาทอัตโบม้ต๊จะทำหน้าที่ผิดปกติไปอย่างไร
1(1)สันขา
2(2)ติ'วร้อน
3(3) มีอารมณ์ทางเพศ
4(4) ม่านตาหดตัว
5(5) เหงื่อออก
106. ความเครียดสามารถระบายออกไต้ด้วยวิธีใด
1(1) ออกกำลังกาย
2(2) คดบวก
3(3) เล่นดนตรี
4(4) ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
5(5) ถูกทุกข้อ
107. เขลเย ไต้ค้นพบว่าบุคคลเกิดความเครียด ร่างกายจะมืปฎิกิริยาต่อความเครียดในขั้นสุดท้ายคือขั้นใด
1(1) ขั้นปฏิกิริยาตื่นตระหนก
2(2) ขั้นปฏิกิริยาเหนื่อยล้า
3(3) ขั้นปฏิกิริยาสร้างระบบต้านทานภัย
4(4) ขั้นปฏิกิริยาปลดปล่อย
5(5) ขั้นปฏิกิริยาผ่อนคลาย
108. อยากทานพาสต้าแต่กลวอ้วนตรงกับข้อใด
1(1) Avoidance-Avoidance Conflict
2(2) Approach-Approach Conflict
3(3) Approve-Advance Conflict
4. (4) Approach-Avoidance Conflict
5(5) Avoidance-Approach Conflict
109. ‘นากหวานก้นเปรี้ยว คือกลไกป้องกันทางจิตแบบใด
1(1) Denial
2(2) Displacemen
3(3) Reaction-formation
44) Projection
5(5) Regression
110. ข้อใดคือตัวอย่างของกลไกป้องกันทางจิต แบบการถอยหลังเข้าคลอง
1(1) มักหาจุดเด่นอื่นมาลบล้างปมด้อยของตน
2(2) โกรธเจ้านายแต่มาด่าและทุบตีภรรยาของตน
3(3) แสวงหาเพื่อนใหม่อยู่เสมอ เบื้องจากไม่มีความจริงใจใหคนอื่น
4(4) เมื่อนาย ก ทะเลาะกับภรรยา และครอบครัวก็ขนของกลับไปอยู่กับแม่
55) มักจะกล่าวว่า “ไม่จริงเป็นไปไม่ได้ สิ่งเลวร้ายเกิดขึ้นกับตัวฉัน มันเป็นแค่ความฝืน”
11นฺ บ้านเล็กแต่ใกล้ที่ทำงาน
1 (1) ซดเขยสิ่งที่ขาด
2(2) ไม่รับรู้ความจริง
3(3) หาสิ่งทดแทน
4(4.) เข้าข้างตัวเอง
5(5) เก็บกด
112. โกรธเพื่อน แต่มาระบายกับแฟน
1 (1) ซดเขยสิ่งที่ขาด
2(2) ไม่รับรู้ความจริง
3(3) หาสิ่งทดแทน
4(4.) เข้าข้างตัวเอง
5(5) เก็บกด
113. ไม่หล่อแต่เรียนดี
1 (1) ซดเขยสิ่งที่ขาด
2(2) ไม่รับรู้ความจริง
3(3) หาสิ่งทดแทน
4(4.) เข้าข้างตัวเอง
5(5) เก็บกด
114. “ไผ่หลิว เป็นซาวเขาฟาอาข่าแต่งกายด้วยชุดประจำเผ่าของตนเอง’, การแต่งกายของไผ่หลิว จัดเป็น บริบททางสังคมลักษณะใด
1(1) การเชื่อฟ้ง
2(2) ปท'สถานกลุ่ม
33) การคล้อยตาม
4(4) การขัดแย้งระหว่างบทบาท
5(5) ตำแหน่งของบุคคลในกลุ่ม
115. การพบปะกันทางธุรกิจเป็นการแบ่งระยะห่างระหว่างบุคคลในระยะใด
1(1) ระยะสนิทสนม
22) ระยะสาธารณะ
3(3) ระยะส่วนตัว
4(4) ระยะสังคม
5(5) ระยะใกล้ชิด ;
116 '"ออยส์ มืความสนใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงเข่นเดียวกับกลุ่มเพื่อนของตบเอง” ตรงกับ ความต้องการการเข้ากลุ่มในข้อใด
1(1) ทฤษฎีผลได้-ผลเสีย
2(2) ความมีเสน่ห์ดึงดูดทางกาย
3(3) ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคม
4(4) ทฤษฎีการเปรียบเทียบทางสังคม
(5) ความคล้ายคลึงกัน
117. สถานการณ์ที่มืการสื่อสารขึ้า ๆ โดยปราศจากการอธิบาย ตรงกับข้อใด
1(1) การยัดเยียดความคิด'ให้ผู้อื่น
2(2) สถานการณ์การคล้อยตาม
3(3) สถานการณ์การเสนอแนะ ■
4(4) สารขักจูง
5(5) การอภิปรายกลุ่ม
118. “ใบขณะที่เราเข้าร่วมการชุมนุมโดยมีความรู้สึกร่วมไปกับการชุมนุมนั้นด้วย” แสดงให้เห็นถึงองค์
1(1) องค์ประกอบทางความเชื่อ
2 องค์ประกอบทางจิตใต้สำนึก
3(3) องค์ประกอบทางการกระทำ
4 องค์ประกอบทางอารมณ์
5(5) องค์ประกอบทางการรับรู้และสัมปชัญญะ
119. ข้อใดคือสาเหตุของการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
1การต่อสู้เพื่อให้Iด้มาชื่งสิทธิของตนเองโดยไม่คิดถึงความรู้สึกของผู้อื่น
2(2) ความต้องการทำให้ผู้อื่นรู้สึกเสียหน้าและเจ็บปวด
3(3) มีความรู้สึกโกรธต้องการแก้แค้น
4(4) ต้องการปกป้องคักดศรีของตนเอง
5(5) ถูกทุกข้อ
120. นายแดง “พูดจาด่าทอและใข้คำพูดสบประมาทเพื่อนข้างบ้าน” การแสดงพฤติกรรมของนายแดง ตรงกับข้อใด
��� (1) การกระจายความรับผิดขอบ
2(2) การเรียบรู้ทางสังคม
3(3) พฤติกรรมก้าวร้าว
4(4) พฤติกรรมการกล้าแสดงออก
5(5) พฤติกรรมการแสดงออกที่ไม่เหมาะ
{"name":"1. ข้อใดเป็นการควบคุมพฤติกรรมขึ้งเป็นจุดมุ่งหมายของการดีกใ;ททางจิตวิทย", "url":"https://www.quiz-maker.com/QPREVIEW","txt":"1. ข้อใดเป็นการควบคุมพฤติกรรมขึ้งเป็นจุดมุ่งหมายของการดีกใ;ททางจิตวิทย, 2. จิตวิทยาเป็นการดีกษาเขิงวิทยาศาสตร์มีความหมายตรงกับข้อใด, 3. จิตวิทยาแยกตัวออกเป็นอิ่สระจากวิซาปรัชญาและมีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์โดยใคร","img":"https://www.quiz-maker.com/3012/images/ogquiz.png"}
Powered by: Quiz Maker