ดสอบย่อยครั้งที่ ๑

รรณกรรมแตกต่างจากวรรณคดีในเรื่องใด
รรณคดีจะแต่งโดยกวีในราชสำนัก ส่วนวรรณกรรมจะแต่งโดยกวีที่เป็นชาวบ้าน
นื้อเรื่องของวรรณคดีจะเป็นเรื่องจักรๆวงศ์ๆ ส่วนเนื้อเรื่องของวรรณกรรมจะสะท้อนชีวิตชาวบ้าน
รรณคดีกำหนดรูปแบบการแต่งเป็นร้อยกรอง ส่วนวรรณกรรมกำหนดรูปแบบการแต่งเป็นร้อยแก้ว
รรณคดีจะจำกัดรูปแบบ ความมุ่งหมาย และคุณค่า ส่วนวรรณกรรมไม่จำกัดรูปแบบ ความมุ่งหมาย และคุณค่า
รรณคดีจะเน้นความไพเราะของถ้อยคำ สำนวนมากกว่าเนื้อเรื่อง ส่วนวรรณกรรมเน้นเนื้อเรื่องมากกว่าถ้อยคำสำนวน
้อใดให้ความหมายของคำว่า วรรณคดีได้ถูกต้อง
นังสือที่แต่งขึ้นเพื่อความสนุกสนาน ไม่คำนึงถึงสาระแก่นสาร
นังสือที่แต่งขึ้นทุกชนิดไม่จำกัดรูปแบบ ความมุ่งหมายและคุณค่า
นังสือที่แต่งขึ้นโดยการรวบรวมความรู้ไว้เป็นหมวดหมู่ เน้นข้อเท็จจริง
นังสือที่แต่งขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงข้อเท็จจริง ข้อความรู้ และข้อคิดเห็นประกอบเหตุผล
นังสือที่แต่งขึ้นโดยผู้เขียนต้องการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดไปสู่ผู้อ่านด้วยศิลปะการประพันธ์อันวิจิตรประณีต
้อใดไม่จัด เป็นงานประเภทวรรณกรรม
ิทานอีสป
ทโทรทัศน์
ำราฉันทลักษณ์
อลัมน์ในหนังสือพิมพ์
าฐกถาทางวิทยุกระจายเสียง
รรณคดีในข้อใดที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
ิลาจารึก
ิทานพื้นบ้าน
ริศนาคำทาย
พลงกล่อมเด็ก
ทร้องเล่นของเด็ก
ำว่า Literature ใช้ในความหมายเฉพาะ ตรงกับคำไทยว่าอะไร
วีนิพนธ์
รรณคดี
งศาวดาร
ิทานพื้นบ้าน
รรณกรรม
้อใดไม่ใช่ลักษณะของวรรณคดี
กระดับจิตใจให้สูงขึ้น
ช้สำนวนโวหารดีสละสลวย
่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ
ช้เป็นแบบแผนในการแต่งได้
ุ่งอบรมคุณธรรมจริยธรรม
ารอ่านบทประพันธ์หรือวรรณคดีบางเรื่องทำให้รับรู้สภาพและเหตุการณ์บ้านเมืองในสมัยนั้นๆได้ เพราะเหตุใด
วีและนักประวัติศาสตร์เป็นคนๆเดียวกัน
วีสอดแทรกเหตุการณ์สำคัญไว้ในงานเขียนของตน
ม่มีผู้จดบันทึกประวัติศาสตร์โดยเฉพาะ กวีจึงแต่งเป็นวรรณกรรม
วีทุกคนได้รับการปลูกฝังให้บอกเล่าเหตุการณ์บ้านเมืองลงไว้ในวรรณคดี
วีไม่ได้ตั้งใจบันทึกเหตุการณ์ไว้ เพียงแต่นำเรื่องราวที่เกิดขึ้นในยุคของตนมาเขียนเท่านั้น
ำว่า วรรณคดี บัญญัติขึ้นเมื่อใด
ัชกาลที่ ๓
ัชกาลที่ ๔
ัชกาลที่ ๕
ัชกาลที่ ๖
ัชกาลที่ ๗
้อแตกต่างระหว่างวรรณกรรมกับวรรณคดี คืออะไร
ารเล่าเรื่อง
ารใช้คำประพันธ์
ารแสดงวรรณศิลป์
วามมุ่งหมายในการแต่ง
ารเสนอประเด็นขัดแย้งในการดำเนินเรื่อง
ู้ใดเป็นผู้ค้นพบศิลาจารึกหลักที่ ๑
ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ัวอักษรที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราชประดิษฐ์ขึ้น มาจากตัวอักษรใด
ัวอักษรขอมหวัด
ัวอักษรไทย
ัวอักษรมอญโบราณ
ัวอักษรไทยน้อย
้อใด ไม่ใช่ลักษณะเด่นด้านลักษณะคาประพันธ์ในศิลาจารึกหลักที่ ๑
ป็นร้อยแก้วมีสัมผัส
ช้ประโยคสั้นๆ และชัดเจน
ีการซ้าคาและเน้นย้าความ
ช้คาภาษาบาลีและสันสฤตเป็นส่วนมาก
้อใดแสดงถึงวิถีชีวิตของประชาชนในสมัยสุโขทัย ได้ชัดเจนที่สุด
นในเมืองสุโขไทยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน
ลางเมืองสุโขทัยนี้ มีน้าตระพังโพยสี ใสกินดี... ดั่งกินน้าโขงเมื่อแล้ง
นใดขี่ช้างมาหาพาเมืองมาสู่ช่อยเหนือเฟื้อกู้ มันบ่มีช้างบ่มีม้า บ่มีปั่วบ่มีนาง บ่มีเงือนบ่มีทองให้แก่มัน
พื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า
ิลาจารึกหลักที่ ๑ เป็นวรณคดีประเภทอะไร
าสนา
ดุดี
ิทาน
ระวัติศาสตร์
้อความต่อไปนี้แสดงให้เห็นอะไรในเมืองสุโขทัย "เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ามีปลาในนามีข้าว"
วามอุดมสมบูรณ์
วามดีงาม
วามเจริญก้าวหน้า
วามประหยัดมัธยัสถ์
้อใดเข้าลักษณะเป็นภาษาวรรณศิลป์
นน้ามีปลา ในนามีข้าว
่อกูไปรบขุนสามชน
ูบาเรอแก่พ่อกู
ี่กูตายจึงได้เมืองแก่กูทั้งกลม
“อาสาเจ้าจนตาย อาสานายจนพอแรง” จากเรื่องสุภาษิตพระร่วง สอดแทรกคุณธรรมในเรื่องใด
วามกตัญญู
วามสามัคคี
วามมีน้ำใจ
วามรับผิดชอบ
วามรักเจ้านาย
ำว่า ไตรภูมิ หมายถึงภูมิทั้งสามได้แก่อะไรบ้าง
ามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ
นุษย์โลก สวรรค์ นรก
ลกมนุษย์ โลกสวรรค์ โลกบาดาล
วรรค์ นรก บาดาล
าตุภูมิ นรกภูมิ ทูติยภูมิ
“ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า” จากข้อความนี้แสดงให้เห็นถึงสิ่งใด
ระชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเลี้ยงสัตว์
ระชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพการเกษตร
ระชาชนมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
าชีพหลักของประชาชนคือการค้าขาย
ครคือผู้แต่งสุภาษิตพระร่วง
่อขุนรามคำแหงมหาราช
่อขุนศรีอินทราทิตย์
างนพมาศ
ระยาลิไท
ระร่วง
{"name":"ดสอบย่อยครั้งที่ ๑", "url":"https://www.quiz-maker.com/QPREVIEW","txt":"วรรณกรรมแตกต่างจากวรรณคดีในเรื่องใด, ข้อใดให้ความหมายของคำว่า วรรณคดีได้ถูกต้อง, ข้อใดไม่จัด เป็นงานประเภทวรรณกรรม","img":"https://www.quiz-maker.com/3012/images/ogquiz.png"}
Powered by: Quiz Maker